วันศุกร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2557

Untitled Document
--> Untitled Document
 
 
แบบเรียนพระพุทธศาสนา แบบเรียนธรรมศึกษา แบบเรียนนักธรรม แบบเรียนพระบาลี แบบเรียนพระอภิธรรม ดาวน์โหลด
ข้อสอบปลายภาค ข้อสอบธรรมศึกษา ข้อสอบนักธรรม ข้อสอบพระบาล ข้อสอบอภิธรรม แบบฟอร์ม






 
ลิงค์อื่นๆ







-->



 
วีดีทันศ์ การเรียนการสอน

รวมนิทานชาดก

นิทานเตือนใจ

แบบเรียนพระพุทะศาสนา




ป.๖
บทที่ ๑ ดาวน์โหลด
บทที่ ๒ ดาวน์โหลด
บทที่ ๓ ดาวน์โหลด
บทที่ ๔ ดาวน์โหลด
บทที่ ๕ ดาวน์โหลด
บทที่ ๖ ดาวน์โหลด
บทที่ ๗ ดาวน์โหลด
บทที่ ๘ ดาวน์โหลด
บทท ี่๙ ดาวน์โหลด


วีดีทันศ์ การเรียนการสอน
ศีล ๕


“..... บุคคลที่ยังมีตัณหา มานะ ทิฎฐิ อาศัยอยู่ ย่อมมีความหวั่นไหว
ความหวั่นไหวย่อมไม่มี แก่บุคคลที่ไม่มีตัณหา มานะ และทิฎฐิอาศัยอยู่
เมื่อความหวั่นไหวไม่มี ย่อมมี ความสงบระงับ
เมื่อมีความสงบระงับ ย่อมไม่มีความเพลิดเพลิน ความมาความไปก็ไม่มี
เมื่อจุติและอุบัติไม่มี โลกนี้และโลกหน้า และระหว่างโลกทั้ง ๒ ก็ไม่มี
นี้แหละเป็นที่สุดแห่งทุกข์”



                   ตัวอย่าง กระทู้ ชั้น ตรี
                  <h1>ตัวอย่างการเขียนกระทู้ธรรมชั้นตรี</h1>



   สีลํ  โลเก  อนุตฺตรํ

   ศีล เป็นเยี่ยมในโลก

        บัดนี้ จักได้อธิบายขยายเนื้อความแห่งพุทธศาสนสุภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น พอเป็น

แนวทางแห่งการศึกษาและนำไปปฏิบัติสืบไป

        คำว่า ศีล คือการรักษากายวาจาใจให้เรียบร้อย เป็นคุณสมบัติขั้นพื้นฐานของมนุษย์ผู้ที่จะได้ชื่อว่า   

เป็นมนุษย์นั้นผู้นั้นอย่างน้อยต้องมีศีล ๕ มีไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม ไม่พูดปด และ

ไม่ดื่มสุราเสพยาเสพย์ติด  ศีลชื่อว่าเป็นเยี่ยมในโลกเพราะเป็นเครื่องป้องกันโลกให้อยู่ร่มเย็นเป็นสุข ศีล

เป็นเครื่องขจัดความเบียดเบียนระหว่างตนกับผู้อื่นให้หมดไป  ก่อความรักความเมตตาให้เกิดขึ้นในโลก

ศีลเป็นเครื่องชำระกิเลสอย่างหยาบให้หมดไป เป็นขั้นพื้นฐานเป็นเบื้องต้นของการทำความดีให้บริสุทธิ์

อยู่เสมอย่อมจะประสบแต่ความสุข ศีลเป็นความดีมีผลเป็นความสุข และผู้รักษาศีลศีลย่อมให้ผลความสุข

ตราบเท่าที่เขารักษาศีลอยู่และนำสุขมาให้ตราบเท่าชรา สมดังสุภาษิตที่มาใน ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท ว่า

   สุขํ  ยาว  ชรา  สีลํ

      ศีล นำสุขมาให้ตราบเท่าชรา

       ศีล ในที่นี้มีหลายประเภท คือศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๒๒๗ และศีล ๓๑๑ เพื่อนำอัธยาศัยของผู้ปฏิบัติตาม

คือในขั้นนั้นๆ ให้บริสุทธิ์ผ่องใส และประณีตขึ้นโดยลำดับ หรือเรียงตามภูมิธรรมเพื่อพัฒนาไปสู่คุณธรรม

เบื้อสูงและศีลยังนำความสุขมาให้แก่ผู้ปฏิบัติตาม สุขอันเกิดจากการรักษาศีลนั้น เช่นไม่กลัวต่อโทษแห่ง

การประพฤติชั่ว ไม่ต้องกลัวตกอบาย มีนรก เป็นต้น ผู้ที่ปรารถนามีความสุขจึงไม่พึ่งพากันละทิ้งการรักษา

ศีลเพราะว่าศีลเป็นบ่อเกิดเป็นเหตุนำ ความสุขความเจริญมาให้ตราบเท่าชราหรือจนกว่าชีวิตจะหาไม่ ยก

ตัวอย่าง พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์เป็นผู้ทรงไว้ซึ่งศีลที่บริสุทธิ์ ตลอดพระชนม์ชีพของพระองค์ จึงมี

แต่ความสุขเกษมสำราญ มีความเบิกบานอยู่ทุกขณะ เพราะฉะนั้นท่านทั้งหลายจึงไม่ควรมองข้าม เราจึง

จึงควรทำตัวเป็นผู้มีปกติด้วยศีลอันเป็นที่รัก เพื่อประโยชน์สุขแก่ตนเองและเพื่อเพื่อนมนุษย์ร่วมโลกและ

ด้วยอานิสงส์ของการรักษาศีลเป็นปกติแล้ว ศีลย่อมนำความสุขมาให้ผู้ปฏิบัติตราบเท่าชรา แล

       สรุปความว่า ศีล คือการรักษากายวาจาใจให้เรียบร้อย เป็นคุณธรรมเบื้อต้น ที่จะทำให้คนเป็นมนุษย์

คือผู้ประเสริฐ ทำให้ผู้รักษาศีลปราศจากศัตรูที่คอยเบียดเบียน ศีลเป็นตัวควบคุมความประพฤติทางกาย

ให้เรียบร้อย ศีลเป็นเครื่องรองรับความสุขความเจริญต่างๆ ศีลสร้างความร่มเย็นให้แก่ชาวโลกและตนเอง

ศีลทำให้คนมีความประพฤติทางกาย วาจา ใจ ให้สะอาด ศีลจึงเป็นความดีเยี่ยมในโลก และศีลนำความ

สุขมาให้แก่ผู้รักษาตราบชรา สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ยกขึ้นเป็นนิกเขปบทเบื้องต้นว่า

สีลํ  โลเก  อนุตฺตรํ

ศีล เป็นเยี่ยมในโลก
   
มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี้ ฯ



<h1>กระทู้ธรรมชั้นตรี,เรียงความแก้กระทู้ธรรม</h1>
ลำดับการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรมชั้นตรี ๑๐ ข้อ ดังนี้
๑. เขียน สุภาษิตบทตั้ง-พร้อมคำแปล
๒. เขียน คำนำ “บัดนี้ จักได้อธิบาย...สืบต่อไป
๓. เขียน อธิบายสุภาษิตบทตั้ง ๘-๑๕ บรรทัด
๔. เขียน บอกที่มาสุภาษิตเชื่อม “สมดังสุภาษิตที่มาใน..........ว่า
๕. เขียน สุภาษิตเชื่อม-พร้อมคำแปล
๖. เขียน อธิบายสุภาษิตเชื่อม ๘-๑๕ บรรทัด
๗. เขียน สรุปความประมาณ ๕-๗ บรรทัด
๘. เขียน ปิดท้ายสรุปว่า “สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ยกขึ้นเป็นนิกเขปบทเบื้องต้นว่า
๙. เขียน ให้ยกสุภาษิตบทตั้งพร้อมคำแปล มาเขียนปิด
๑๐. เขียน ปิดกระทู้ธรรมด้วย “มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี้

สำคัญ : ผู้ที่สอบเขียนเรียงความกระทู้ธรรมชั้นตรี ให้ถูกต้องตามโครงสร้างกระทู้ธรรม จะต้องเขียนตามลำดับ
การเขียนทั้ง ๑๐ ข้อเบื้องต้นนี้ หากขาดข้อใดหนึ่งนั้นหมายถึงเรียงความแก้กระทู้ธรรมนั้นไม่สมบูรณ์ เป็นเหตุให้ผู้สอบเสียคะแนนโดยไม่จำเป็น


๕ จุดสำคัญในโครงสร้างกระทู้ชั้นตรีที่ต้องจำให้ได้
จุดที่ ๑ “บัดนี้จักได้อธิบายขยายเนื้อความแห่งกระทู้ธรรมสุภาษิตที่ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น 
พอเป็นแนวทางแห่งการศึกษาและนำไปปฏิบัติสืบไป
จุดที่ ๒ “สมดังสุภาษิตที่มาใน......ว่า (บอกที่มาของสุภาษิตเชื่อม)”
จุดที่ ๓ “สุภาษิตเชื่อมพร้อมคำแปล และที่มาของสุภาษิตเชื่อม
จุดที่ ๔ “สมดังพุทธศาสนสุภาษิตที่ยกขึ้นเป็นนิกเขปบทเบื้องต้นว่า
จุดที่ ๕ “มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี้

สำคัญ : จุดสำคัญทั้ง ๕ จุดนี้ นักเรียนต้องจำให้ได้ขึ้นใจ เพราะเวลาสอบธรรมสนามหลวงจริงจะต้องเขียนลงไป 
และให้ถูกต้องตามหลักโครงสร้างกระทู้ธรรมที่ทางสนามหลวงกำหนดให้




 721 5 4

 20.1K



   โดย สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ
อริยสัจ ๔ และปฏิบัติศีลวัตร คลิกฟัง
   โดย พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)
หลักปฏิบัติสามประการ (ศีล) คลิกฟัง
ธรรมนูญชีวิต (ศีลเป็นระบบของชีวิต) คลิกฟัง
หลักการรักษาศีลอุโบสถ คลิกฟัง
รักษาศีลอุโบสถเพื่ออะไร คลิกฟัง
ประโยชน์จากการมีศีล คลิกฟัง
สังคมวุ่นวายเพราะไร้ศีลธรรม คลิกฟัง
   โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
สมาทานศีล อธิษฐาน แผ่เมตตา มรณสติ ระลึกถึงบุญ ข้อห้าม ๔๑.๔๒ คลิกฟัง
รักษาศีล ๘ อย่าพูดแค่ว่าได้บุญ ต้องรู้ว่าศีล ๘ มาหนุนให้ก้าวไปสู่การพัฒนาจิตใจและปัญญาอย่างไร คลิกฟัง
ถ้ารู้คุณค่าของศีล ๘ ถูกต้องแล้ว จะรักษาอุโบสถแบบไหนๆ ก็เลือกได้อย่างสมเป็นพุทธชน คลิกฟัง
   โดย พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)
รับศีลต้องรักษา คลิกฟัง
มีศีลมีปัญญา คลิกฟัง
วันอุโบสถศีล คลิกฟัง
ให้ศีลรักษาเรา คลิกฟัง
   โดย หลวงปู่จันทา ถาวโร
นายพรานคืนศีล กค 33 คลิกฟัง
อานิสสงส์ของศีล คลิกฟัง
   โดย พระญาณสิทธาจารย์ (หลวงปู่สิม พุทธาจาโร)
ศีลทำให้มีความสุข คลิกฟัง
หลักของศีล ๘ คลิกฟัง
ศีลวิสุทธิ คลิกฟัง
รักษาศีลอย่าคิดมาก คลิกฟัง
อย่าละเมิดศีล คลิกฟัง
   โดย พระโพธิธรรมาจารย์เถระ (หลวงปู่สุวัจน์ สุวโจ)
กลิ่นของศีล คลิกฟัง
ให้ศีล ๕ คลิกฟัง
ศีล - เจตนาละเว้น คลิกฟัง
ศีลานุสติ คลิกฟัง
การสมาทานศีล คลิกฟัง
เจตนาละเว้นคือศีล คลิกฟัง
ศีลเป็นเครื่องประกันสังคมและชีวิต คลิกฟัง
สนทนาธรรม เรื่องศีล คลิกฟัง
ศีลและธรรมเป็นของคู่กัน คลิกฟัง
บุญเกิดขึ้นจากการรักษาศีล คลิกฟัง
ศีล ๕ คลิกฟัง
อุโบสถศีล คลิกฟัง
ศีล-ถ้ำผาปล่อง คลิกฟัง
   โดย พระสุธรรมคณาจารย์ (หลวงปู่เหรียญ วรลาโภ)
เจริญอสุภะ ชำระจิตด้วยศีล คลิกฟัง
ผู้มีศีลย่อมไม่ตกไปสู่ที่ชั่ว คลิกฟัง
อนุภาพแห่งศีล คลิกฟัง
การรักษาศีลแปด คลิกฟัง
ศีลสังวร คลิกฟัง
ให้เคารพศีล วินัย เสียสละ คลิกฟัง
ศีลบารมี คลิกฟัง
เมื่อศีลบริสุทธิ์ คลิกฟัง
หอมด้วยศีลงามด้วยธรรม คลิกฟัง
อบรมศีลสามเณร คลิกฟัง
   โดย พระราชสังวรญาณ (หลวงพ่อพุธ ฐานิโย)
ศีลเป็นคุณธรรมของมนุษย์ คลิกฟัง
ศีล-วิธีทำสมาธิเพื่อแก้ปัญหา คลิกฟัง
รวมนิทานชาดก







ข้อสอบปลายภาค



แบบเรียนธรรมศึกษา


ข้อสอบธรรมศึกษา

แบบเรียนนักธรรม


นักธรรมตรี - นวโกวาท
59
นักธรรมตรี - พุทธศาสนาสุภาษิต เล่ม ๑
52
นักธรรมตรี - พุทธประวัติเล่ม ๑
102
นักธรรมตรี - พุทธประวัติเล่ม ๒
42
นักธรรมตรี - พุทธประวัติเล่ม ๓
71
นักธรรมตรี - วินัยมุข เล่ม ๑
253
นักธรรมตรี - ปฐมสมโพธิ
251

แบบบประกอบนักธรรมชั้นตรี

๒๓
แบบประกอบนักธรรมตรี - คำแนะเรียงความแก้กระทู้ธรรม (เล่ม ๑)
148
๒๔
แบบประกอบนักธรรมตรี - อธิบายคิหิปฏิบัติ ทิศวิภาค
118
๒๕
แบบประกอบนักธรรมตรี - พุทธประวัติ (ปริเฉทที่ ๑)
82
๒๖
แบบประกอบนักธรรมตรี - วินัยวินิจฉัย
79
๒๗
แบบประกอบนักธรรมตรี - อุปกรณํวินัยมุข เล่ม ๑
103
๒๘
แบบประกอบนักธรรมตรี - พุทธประวัติสังเขป
82
๒๙
แบบประกอบนักธรรมตรี - อธิบายธรรมในนวโกวาท
79
๓๐
แบบประกอบนักธรรมตรี - ประมวลปัญหาและเฉลย ธรรมวิภาค
178
๓๑
แบบประกอบนักธรรมตรี - ประมวลปัญหาและเฉลย วินัยบัญญัติ
149
๓๒
แบบประกอบนักธรรมตรี - ประมวลปัญหาและเฉลยพุทธประวัติ
198
๓๓
แบบประกอบนักธรรมตรี - ข้อที่ควรจำในวินัยมุข เล่ม ๑
62
๓๔
แบบประกอบนักธรรมตรี - อธิบายธรรมวิภาค ปริเฉทที่ ๑
309
๓๕
แบบประกอบนักธรรมตรี - พุทธประวัติสังเขป
28
๓๖
แบบประกอบนักธรรมตรี - ศาสนพิธี เล่ม ๑
70





นักธรรมชั้นโท

นักธรรมโท - พุทธศาสนาสุภาษิต เล่ม ๒
50
นักธรรมโท - ธรรมวิภาคปริเฉทที่ ๒
114
๑๐
นักธรรมโท - อนุพุทธประวัติ
76
๑๑
นักธรรมโท - พุทธานุพุทธประวัติ
134
๑๒
นักธรรมโท - สังคีติกถา ธรรมสมบัติ (หมวดที่ ๒ สังคีติกถา)
156
๑๓
นักธรรมโท - วินัยมุข เล่ม ๒
160

แบบบประกอบนักธรรมชั้นโท

๓๗
แบบประกอบนักธรรมโท - วิธีเรียงความแก้กระทู้ธรรมโท
57
๓๘
แบบประกอบนักธรรมโท - อุปกรณ์วินัยมุข เล่ม ๒
72
๓๙
แบบประกอบนักธรรมโท - ธรรมปริทรรศน์ เล่ม ๒
441
๔๐
แบบประกอบนักธรรมโท - อุปกรณ์สังคีติกถา
42
๔๑
แบบประกอบนักธรรมโท - ประมวลปัญหาและเฉลยธรรมวิภาค ปริเฉทที่ ๒
157
๔๒
แบบประกอบนักธรรมโท - ประมวลปัญหาและเฉลยวินัยบัญญัติ
119
๔๓
แบบประกอบนักธรรมโท - ประมวลปัญหาและเฉลยอนุพุทธประวัติ
99
๔๔
แบบประกอบนักธรรมโท - ประมวลปัญหาและเฉลยสังคีติ
41
๔๕
แบบประกอบนักธรรมโท - ศาสนพิธี เล่ม ๒
152


นักธรรมชั้นเอก


๑๔
นักธรรมเอก - ธรรมวิจารณ์
88
๑๕
นักธรรมเอก - พุทธศาสนสุภาษิต เล่ม ๓
58
๑๖
นักธรรมเอก - วินัยมุข เล่ม ๓
271
๑๗
นักธรรมเอก - พระมงคลวิเสสกถา
156
๑๘
นักธรรมเอก - ธรรมสมบัติ (หมวด ๑๒ คาถาธรรมบทแปล)
279
๑๙
นักธรรมเอก - สมถกัมมัฏฐาน
157
๒๐
นักธรรมเอก - วิปัสสนากัมมัฏฐาน
74
๒๑
นักธรรมเอก - ธรรมสมบัติ หมวด ๑๐ สมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนา
78
๒๒
นักธรรมเอก - มหาสติปัฏฐานสูตร และคิริมานนทสูตร
81

แบบบประกอบนักธรรมชั้นเอก

๔๖
แบบประกอบนักธรรมเอก - อุปกรณ์ธรรมวิจารณ์
29
๔๗
แบบประกอบนักธรรมเอก - อุปกรณ์กัมมัฏฐาน
60
๔๘
แบบประกอบนักธรรมเอก - อุปกรณ์วินัยมุข เล่ม 3
54
๔๙
แบบประกอบนักธรรมเอก - เรียงความแก้กระทู้ธรรม ชั้นเอก
64
๕๐
แบบประกอบนักธรรมเอก - ประมวลปัญหาและเฉลยธรรม ชั้นเอก
152
๕๑
แบบประกอบนักธรรมเอก - ประมวลปัญหาและเฉลย วินัยบัญญัติ
121
๕๒
แบบประกอบนักธรรมเอก - ประมวลปัญหาและเฉลย พุทธานุพุทธ
91

ข้อสอบนักธรรม

แบบเรียนพระบาลี
ที่ เล่มที่ ชื่อเรื่อง รายละเอียด
ประโยค ๑ เล่มที่ ๑ บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ คลิกอ่าน
ประโยค ๑ เล่มที่ ๒ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาคที่ 2 นามและอัพพยศัพท์ คลิกอ่าน
ประโยค ๑ เล่มที่ ๓ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค สมาสและตัทธิต คลิกอ่าน
ประโยค ๑ เล่มที่ ๔ บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ 2 อาขยาต และ กิตก์ คลิกอ่าน
ประโยค ๑ เล่มที่ ๕ บาลีไวยกรณ์ วากยสัมพันธ์ คลิกอ่าน
ประโยค ๑ เล่มที่ ๖ อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค 1-2 คลิกอ่าน
ประโยค ๑ เล่มที่ ๗ อธิิบายบาลีไวยากรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ คลิกอ่าน
ประโยค ๑ เล่มที่ ๘ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามและอัพพยศัพท์ คลิกอ่าน
ประโยค ๑ เล่มที่ ๙ อธิบายบาลีไวยากรณ์ สมาสและตัทธิต คลิกอ่าน
๑๐ ประโยค ๑ เล่มที่ ๑๐ อธิบายบาลีไวยากรณ์ อาขยาต คลิกอ่าน
๑๑ ประโยค ๑ เล่มที่ ๑๑ อธิบายบาลีไวยากรณ์ นามกิตก์ และกิริยากิตก์ คลิกอ่าน
๑๒ ประโยค ๑ เล่มที่ ๑๒ อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม 1 คลิกอ่าน
๑๓ ประโยค ๑ เล่มที่ ๑๓ อธิบายวากยสัมพันธ์ เล่ม 2 คลิกอ่าน
๑๔ ประโยค ๑ เล่มที่ ๑๔ ประมวลปัญหาและเฉลายบาลีไวยาการณ์ (สำหรับเปรียญธรรมตรี) คลิกอ่าน
๑๕ ประโยค ๒ เล่มที่ ๑ ธมฺมปทฏฐกถา (ปฐโม ภาโค) คลิกอ่าน
๑๖ ประโยค ๒ เล่มที่ ๒ ธมฺมปทฏฐกถา (ทุติโย ภาโค) คลิกอ่าน
๑๗ ประโยค ๒ เล่มที่ ๓ ธมฺมปทฏฐกถา (ตติโย ภาโค) คลิกอ่าน
๑๘ ประโยค ๒ เล่มที่ ๔ ธมฺมปทฏฐกถา (จตุตฺโถ ภาโค) คลิกอ่าน
๑๙ ประโยค ๒ เล่มที่ ๕ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๑ คลิกอ่าน
๒๐ ประโยค ๒ เล่มที่ ๖ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๒ คลิกอ่าน
๒๑ ประโยค ๒ เล่มที่ ๗ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๓ คลิกอ่าน
๒๒ ประโยค ๒ เล่มที่ ๘ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๔ คลิกอ่าน
๒๓ ประโยค ๒ เล่มที่ ๙ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๑ คลิกอ่าน
๒๔ ประโยค ๒ เล่มที่ ๑๐ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๒ คลิกอ่าน
๒๕ ประโยค ๒ เล่มที่ ๑๑ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๓ คลิกอ่าน
๒๖ ประโยค ๒ เล่มที่ ๑๒ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๔ คลิกอ่าน
๒๗ ประโยค ๓ เล่มที่ ๑ ธมฺมปทฏฐกถา (ปญจโม ภาโค) คลิกอ่าน
๒๘ ประโยค ๓ เล่มที่ ๒ ธมฺมปทฏฐกถา (ฉฏโฐ ภาโค) คลิกอ่าน
๒๙ ประโยค ๓ เล่มที่ ๓ ธมฺมปทฏฐกถา (สตฺตโม ภาโค) คลิกอ่าน
๓๐ ประโยค ๓ เล่มที่ ๔ ธมฺมปทฏฐกถา (อฏฐโม ภาโค) คลิกอ่าน
๓๑ ประโยค ๓ เล่มที่ ๕ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๕ คลิกอ่าน
๓๒ ประโยค ๓ เล่มที่ ๖ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๖ คลิกอ่าน
๓๓ ประโยค ๓ เล่มที่ ๗ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๗ คลิกอ่าน
๓๔ ประโยค ๓ เล่มที่ ๘ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค ๘ คลิกอ่าน
๓๕ ประโยค ๓ เล่มที่ ๙ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๕ คลิกอ่าน
๓๖ ประโยค ๓ เล่มที่ ๑๐ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๖ คลิกอ่าน
๓๗ ประโยค ๓ เล่มที่ ๑๑ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๗ คลิกอ่าน
๓๘ ประโยค ๓ เล่มที่ ๑๒ คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา ยกศัพท์แปล ภาค ๘ คลิกอ่าน
๓๙ ประโยค ๓ เล่มที่ ๑๓ อันตรคาถาธรรมบทแปล คลิกอ่าน
NEW**********
๔๐ ประโยค ๔ เล่มที่ ๑ มงฺคลตฺถทีปนี (ปฐโม ภาโค) คลิกอ่าน
๔๑ ประโยค ๔ เล่มที่ ๒ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๑ คลิกอ่าน
๔๒ ประโยค ๔ เล่มที่ ๓ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๒ คลิกอ่าน
NEW**********
๔๓ ประโยค ๕ เล่มที่ ๑ มงฺคลตฺถทีปนี (ปฐโม ภาโค) คลิกอ่าน
๔๔ ประโยค ๕ เล่มที่ ๒ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๓ คลิกอ่าน
๔๕ ประโยค ๕ เล่มที่ ๓ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๔ คลิกอ่าน
๔๖ ประโยค ๕ เล่มที่ ๔ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม ๕ คลิกอ่าน
NEW**********
๔๗ ประโยค ๖ เล่มที่ ๑ สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฐกถา (ตติโย ภาโค) คลิกอ่าน
๔๘ ประโยค ๖ เล่มที่ ๒ สมฺนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฐกถาย อตฺถโยชนา (ทุติโย ภาโค) คลิกอ่าน
๔๙ ประโยค ๖ เล่มที่ ๓ สารตฺถทีปนี นาม วินยฎีกา สมนฺตปาสาทิกา วณฺณนา (ตติโย ภาโค) คลิกอ่าน
๕๐ ประโยค ๖ เล่มที่ ๔ สารตฺถทีปนี นาม วินยฎีกา สมนฺตปาสาทิกา วณฺณนา (จตุตฺโถ ภาโค) คลิกอ่าน
๕๑ ประโยค ๖ เล่มที่ ๕ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน ๑ คลิกอ่าน
๕๒ ประโยค ๖ เล่มที่ ๖ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน ๒ คลิกอ่าน
๕๓ ประโยค ๖ เล่มที่ ๗ จตุตถสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย จลุวรรค วรรณา คลิกอ่าน
๕๔ ประโยค ๖ เล่มที่ ๘ ปัญจมสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย ปริวาร วัณณนา คลิกอ่าน
NEW**********
๕๕ ประโยค ๗ เล่มที่ ๑ สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฐกถา (ปฐโม ภาโค) คลิกอ่าน
๕๖ ประโยค ๗ เล่มที่ ๒ สมนฺตปาสาทิกา นาม วินยฏฐกถา (ทุติโย ภาโค) คลิกอ่าน
๕๗ ประโยค ๗ เล่มที่ ๓ สมนฺตปาสาทิกาย นาม วินยฏฐกถา อตฺถโยชนา (ปฐโม ภาโค) คลิกอ่าน
๕๘ ประโยค ๗ เล่มที่ ๔ สารตฺถทีปนี นาม วินยฎีกา สมนฺตปาสาทิกา วณฺณนา (ปฐโม ภาโค) คลิกอ่าน
๕๙ ประโยค ๗ เล่มที่ ๕ ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๑ คลิกอ่าน
๖๐ ประโยค ๗ เล่มที่ ๖ ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๒ คลิกอ่าน
๖๑ ประโยค ๗ เล่มที่ ๗ ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๓ คลิกอ่าน
๖๒ ประโยค ๗ เล่มที่ ๘ ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๑ คลิกอ่าน
๖๓ ประโยค ๗ เล่มที่ ๙ ทุติยสมันตปาสาทิกาแปล ภาค ๒ คลิกอ่าน
NEW**********
๖๔ ประโยค ๘ เล่มที่ ๑ วิสุทธิมคฺคสฺส นาม ปกรณวิเสสสฺล (ปฐโม ภาโค) คลิกอ่าน
๖๕ ประโยค ๘ เล่มที่ ๒ วิสุทธิมคฺคสฺส นาม ปกรณวิเสสสฺล (ทุติโย ภาโค) คลิกอ่าน
๖๖ ประโยค ๘ เล่มที่ ๓ วิสุทธิมคฺคสฺส นาม ปกรณวิเสสสฺล (ตติโย ภาโค) คลิกอ่าน
๖๗ ประโยค ๘ เล่มที่ ๔ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๑ คลิกอ่าน
๖๘ ประโยค ๘ เล่มที่ ๕ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๒ คลิกอ่าน
๖๙ ประโยค ๘ เล่มที่ ๖ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๒ ตอน ๑ คลิกอ่าน
๗๐ ประโยค ๘ เล่มที่ ๗ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๒ ตอน ๒ คลิกอ่าน
๗๑ ประโยค ๘ เล่มที่ ๘ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๓ ตอน ๑ คลิกอ่าน
๗๒ ประโยค ๘ เล่มที่ ๙ วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๓ ตอน ๒ (ตอนจบ) คลิกอ่าน
๗๓ ประโยค ๘ เล่มที่ ๑๐ ปรมตฺถมญฺชสาย นาม วิสุทธิมคฺคสํวณฺณนาย มหาฎีกาสมฺมตาย (ปฐโม ภาโค) คลิกอ่าน
๗๔ ประโยค ๘ เล่มที่ ๑๑ ปรมตฺถมญฺชสาย นาม วิสุทธิมคฺคสํวณฺณนาย มหาฎีกาสมฺมตาย (ทุติโย ภาโค) คลิกอ่าน
๗๕ ประโยค ๘ เล่มที่ ๑๒ ปรมตฺถมญฺชสาย นาม วิสุทธิมคฺคสํวณฺณนาย มหาฎีกาสมฺมตาย (ตติโย ภาโค) คลิกอ่าน
NEW**********
๗๖ ประโยค ๙ เล่มที่ ๑ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปญฺจิกา นาม อตฺถโยชนา (ปฐโม ภาโค) คลิกอ่าน
๗๗ ประโยค ๙ เล่มที่ ๒ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปญฺจิกา นาม อตฺถโยชนา (ทุติโย ภาโค) คลิกอ่าน
๗๘ ประโยค ๙ เล่มที่ ๓ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปญฺจิกา นาม อตฺถโยชนา (ตติโย ภาโค) คลิกอ่าน
๗๙ ประโยค ๙ เล่มที่ ๔ อภิธมฺมตฺถสงฺคหปาลิยา สห อภิธรรมฺมภตฺวิภาวินีนาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหฎีกา คลิกอ่าน
๘๐ ประโยค ๙ เล่มที่ ๕ อภิธัมมัตถสังคหบาลี และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา คลิกอ่าน

ที่ หมวด ชื่อหนังสือ รายละเอียด
พระวินัยปิฎก วินยฏรกถา (สมนฺตปาสาทิกา ๑) คลิกอ่าน
พระวินัยปิฎก วินยฏรกถา (สมนฺตปาสาทิกา ๒) คลิกอ่าน
พระวินัยปิฎก วินยฏรกถา (สมนฺตปาสาทิกา ๓) คลิกอ่าน
พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกายฏรกถา (สุมงฺคลวิลาสินี ๑) คลิกอ่าน
พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกายฏรกถา (สุมงฺคลวิลาสินี ๒) คลิกอ่าน
พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกายฏรกถา (สุมงฺคลวิลาสินี ๓) คลิกอ่าน
พระสุตตันตปิฎก มชฺฌิมนิกายฏรกถา (ปปญจสูทนี ๑) คลิกอ่าน
พระสุตตันตปิฎก มชฺฌิมนิกายฏรกถา (ปปญจสูทนี ๒) คลิกอ่าน
พระสุตตันตปิฎก มชฺฌิมนิกายฏรกถา (ปปญจสูทนี ๓) คลิกอ่าน
๑๐ พระสุตตันตปิฎก สํยุตฺตนิกายฏรกถา (สารตฺถปกาสินี ๑) คลิกอ่าน
๑๑ พระสุตตันตปิฎก สํยุตฺตนิกายฏรกถา (สารตฺถปกาสินี ๒) คลิกอ่าน
๑๒ พระสุตตันตปิฎก สํยุตฺตนิกายฏรกถา (สารตฺถปกาสินี ๓) คลิกอ่าน
๑๓ พระสุตตันตปิฎก องฺคุตฺตรนิกายฏรกถา (มโนรถปูรณี ๑) คลิกอ่าน
๑๔ พระสุตตันตปิฎก องฺคุตฺตรนิกายฏรกถา (มโนรถปูรณี ๒) คลิกอ่าน
๑๕ พระสุตตันตปิฎก องฺคุตฺตรนิกายฏรกถา (มโนรถปูรณี ๓) คลิกอ่าน
๑๖ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา ขุทฺทกปารวณฺณนา (ปรมตฺถโชติกา) คลิกอ่าน
๑๗ พระสุตตันตปิฎก ธมฺมปทฏรกถา ๑ ยมกวคฺควณฺณนา คลิกอ่าน
๑๘ พระสุตตันตปิฎก ธมฺมปทฏรกถา ๒ อปฺปมาท-จิตฺตวคฺควณฺณนา คลิกอ่าน
๑๙ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา อุทานนวณฺณนา (ปรมตฺถทีปนี) คลิกอ่าน
๒๐ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา อิติวุตฺตกวณฺณนา (ปรมตฺถทีปนี) คลิกอ่าน
๒๑ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา สุตฺตนิปาตวณฺณนา (ปรมตฺถโชติกา ๑) คลิกอ่าน
๒๒ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา สุตฺตนิปาตวณฺณนา (ปรมตฺถโชติกา ๒) คลิกอ่าน
๒๓ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถาวิมานวตฺถุวณฺณนา (ปรมตฺถทีปนี) คลิกอ่าน
๒๔ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา เปตวตฺถุวณฺณนา (ปรมตฺถทีปนี) คลิกอ่าน
๒๕ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา เถรคาถาวณฺณนา (ปรมตฺถทีปนี ๑) คลิกอ่าน
๒๖ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา เถรคาถาวณฺณนา (ปรมตฺถทีปนี ๒) คลิกอ่าน
๒๗ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา เถรีคาถาวณฺณนา (ปรมตฺถทีปนี) คลิกอ่าน
๒๘ พระสุตตันตปิฎก ชาตกฏรกถา ๑ เอกนิปาตวณฺณนา (๑) คลิกอ่าน
๒๙ พระสุตตันตปิฎก ชาตกฏรกถา ๑ เอกนิปาตวณฺณนา (๒) คลิกอ่าน
๓๐ พระสุตตันตปิฎก ชาตกฏรกถา ๓ ทุกนิปาตวณฺณนา คลิกอ่าน
๓๑ พระสุตตันตปิฎก ชาตกฏรกถา ๔ ติก-ปญจกนิปาตวณฺณนา คลิกอ่าน
๓๒ พระสุตตันตปิฎก ชาตกฏรกถา ๕ ฉกฺก-ทสกนิปาตวณฺณนา คลิกอ่าน
๓๓ พระสุตตันตปิฎก ชาตกฏรกถา ๖ เอกาทสก-ปกิณฺณกนิปาตวณฺณนา คลิกอ่าน
๓๔ พระสุตตันตปิฎก ชาตกฏรกถา ๗ วีสติ-จตฺตาฬัสนิปาตวณฺณนา คลิกอ่าน
๓๕ พระสุตตันตปิฎก ชาตกฏรกถา ๘ ปญฺญาส-สตฺตตินิปาตวณฺณนา คลิกอ่าน
๓๖ พระสุตตันตปิฎก ชาตกฏรกถา ๙ มหานิปาตวณฺณนา (๑) คลิกอ่าน
๓๗ พระสุตตันตปิฎก ชาตกฏรกถา ๑๐ มหานิปาตวณฺณนา (๒) คลิกอ่าน
๓๘ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา มหานิทฺเทสวณฺณนา (สทฺธมฺมปชฺโชติกา) คลิกอ่าน
๓๙ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา จูฬนิทฺเทสวณฺณนา (สทฺธมฺมปชฺโชติกา) คลิกอ่าน
๔๐ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา ปฏิสมฺภิทามคฺควณฺณนา (สทฺธมฺมปกาสินี ๑) คลิกอ่าน
๔๑ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา ปฏิสมฺภิทามคฺควณฺณนา (สทฺธมฺมปกาสินี ๒) คลิกอ่าน
๔๒ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา อปทานวณฺณนา (วิสุทฺธชนวิลาสินี ๑) คลิกอ่าน
๔๓ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา อปทานวณฺณนา (วิสุทฺธชนวิลาสินี ๒) คลิกอ่าน
๔๔ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา พุทฺธวํสวณฺณนา (มธุรตฺถวิลาสินี) คลิกอ่าน
๔๕ พระสุตตันตปิฎก ขุทฺทกนิกายฏรกถา จริยาปิฏกวณฺณนา (ปรมตฺถทีปนี) คลิกอ่าน
๔๖ พระอภิธรรมปิฎก อภิธมฺมฏรกถา ธมฺมสงฺคณีวณฺณนา (อฏรสาลินี) คลิกอ่าน
๔๗ พระอภิธรรมปิฎก อภิธมฺมฏรกถา วิภงฺควณฺณนา (สมฺโมหวิโนทนี) คลิกอ่าน
๔๘ พระอภิธรรมปิฎก อภิธมฺมฏรกถา ปญฺจปกรณวณฺณนา (ปรมตฺถทีปนี) คลิกอ่าน

ข้อสอบพระบาลี

ธรรมศึกษา

ชื่อเรื่อง : ธรรมศึกษาชั้นเอก(ฉบับปรับปรุง๒๕๕๔)
ผู้จัดทำ : สำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สถานที่เก็บ : A1-37
สถิติการเปิดอ่าน : 1658
ชื่อเรื่อง : การจัดโต๊ะหมู่บูชา(ฉบับปรับปรุงปี 2554)
ผู้จัดทำ : สำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สถานที่เก็บ : A1-32
สถิติการเปิดอ่าน : 1933
ชื่อเรื่อง : ธรรมศึกษาชั้นโท(ฉบับปรับปรุง๒๕๕๔)
ผู้จัดทำ : สำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สถานที่เก็บ : A1-36
สถิติการเปิดอ่าน : 1333
ชื่อเรื่อง : พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระอภิธรรม
ผู้จัดทำ : กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม สถานที่เก็บ : A1-28
สถิติการเปิดอ่าน
:
1740
ชื่อเรื่อง : ธรรมศึกษาชั้นตรี(ฉบับปรับปรุง๒๕๕๔)
ผู้จัดทำ : สำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สถานที่เก็บ : A1-35
สถิติการเปิดอ่าน : 1083
ชื่อเรื่อง : พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระสูตร
ผู้จัดทำ : กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม สถานที่เก็บ A1-27
สถิติการเปิดอ่าน
:
1966
ชื่อเรื่อง : หลักสูตรการอบรมคุณธรรม
ผู้จัดทำ : สำนักพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม สถานที่เก็บ : A1-9
สถิติการเปิดอ่าน : 1557
ชื่อเรื่อง : พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอน ว่าด้วยพระวินัย
ผู้จัดทำ : กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม สถานที่เก็บ : A1-26
สถิติการเปิดอ่าน : 1579

แบบเรียนพระอภิธรรม

ไฟล์บทเรียน หลักสูตร พระอภิธรรมทางไปรษณีย์
01 สาระน่ารู้เกี่ยวกับพระอภิธรรม.pdf
Adobe Acrobat Document [315.9 KB]
Download
02 ชีวิตคืออะไร.pdf
Adobe Acrobat Document [505.3 KB]
Download
03 (1) (2) ประเภทของจิต.pdf
Adobe Acrobat Document [607.4 KB]
Download
04 เจตสิก.pdf
Adobe Acrobat Document [773.9 KB]
Download
05 (2) รูปปรมัตถ์.pdf
Adobe Acrobat Document [851.8 KB]
Download
06 (1) ภพภูมิ.pdf
Adobe Acrobat Document [700.6 KB]
Download
06 (2) ภพภูมิ.pdf
Adobe Acrobat Document [887.3 KB]
Download
07 (1) กฎแห่งกรรม.pdf
Adobe Acrobat Document [1.1 MB]
Download
07 (2) กฎแห่งกรรม.pdf
Adobe Acrobat Document [1.0 MB]
Download
08 (1) สมุจจยสังคหะ - อกุศลสังคหะ.pdf
Adobe Acrobat Document [1.4 MB]
Download
08 (2) สมุจจยสังคหะ - มิสสกสังคหะ.pdf
Adobe Acrobat Document [499.2 KB]
Download
08 (3) สมุจจยสังคหะ - โพธิปักขิยสังคหะ.p
Adobe Acrobat Document [831.2 KB]
Download
08 (4) สมุจจยสังคหะ - สัพพสังคหะ.pdf
Adobe Acrobat Document [570.4 KB]
Download
09 (1) สมถกรรมฐาน - กสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐.pdf
Adobe Acrobat Document [1.1 MB]
Download
09 (2) สมถกรรมฐาน - อนุสสติ ๑๐.pdf
Adobe Acrobat Document [993.0 KB]
Download
09 (3) สมถกรรมฐาน.pdf
Adobe Acrobat Document [883.8 KB]
Download
10 วิปัสสนากรรมฐาน.pdf
Adobe Acrobat Document [1.1 MB]
Download
ตำราอภิธรรม
ข้อสอบพระอภิธรรม พร้อมเฉลย (MS-Word file)
อภิธรรมโชติกะวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

 พระอภิธรรมเบื้องต้นแบบเรียน หลักสูตร พระอภิธรรมทางไปรษณีย์ (pdf)

 หนังสือพระอภิธรรม วัดท่ามะโอ (pdf)

เอกสารประกอบการศึกษาพระอภิธรรม 1 (pdf) ตามหลักสูตร ๙ ชั้นอภิธรรมโชติกะวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


ข้อสอบอภิธรรม



ดาวน์โหลด

แบบฟอร์ม

นิทานเตือนใจ

Copyright © 2553-2556 Vichaidit Ekbunyanon oak
109 mu 9 Phibunsongkhram Rd Suan Ya

Wichaidit Ekbunyanon Oak
Untitled Document
-->

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น